เล่าตั้งแต่ต้นเรื่องกับประวัติคณะราษฎร
Tech News, Magazine & Review WordPress Theme 2017
  • หน้าแรก
  • เลขเด็ด ทำนายฝัน
    • ทำนายฝัน เลขเด็ดจากฝัน
    • เลขเด็ดงวดนี้
    • วัตถุมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ฤกษ์มงคล
  • แคปชั่น
    • แคปชั่นใหม่ๆ
    • แคปชั่นโสด
    • แคปชั่นกวนๆ
    • แคปชั่นน่ารัก
    • แคปชั่นอ่อย
    • แคปชั่นเด็ด
    • แคปชั่นภาษาอังกฤษ
    • แคปชั่นทะเล
    • แคปชั่นเศร้า
    • แคปชั่นชีวิต
    • แคปชั่นโดนๆ
    • แคปชั่นเสี่ยว
    • แคปชั่นกวนตีน
    • แคปชั่นความรัก
    • แคปชั่นความรู้สึก
    • แคปชั่นอกหัก
  • คำอวยพร
    • อวยพรวันครบรอบ
    • อวยพรงานแต่งงาน
    • อวยพรวันแม่
    • อวยพรวันเกิด
  • โรงแรม
    • โรงแรม 5 ดาว
    • โรงแรม 4 ดาว
    • โรงแรม 3 ดาว
    • โรงแรม 2 ดาว
    • โรงแรม 1 ดาว
  • รีวิวหนัง/ซีรี่ส์/อนิเมะ
    • ซีรี่ส์เกาหลี
    • ซีรี่ส์จีน
    • ซีรี่ส์โรแมนติก
    • ซีรี่ส์ย้อนยุค
  • สุขภาพ
    • แคลอรี่
    • อาหาร
  • Lifestyle
    • สาระน่ารู้
    • ความงาม
    • ไอเดียทรงผม
    • บ้านและสวน
    • แต่งหน้า
    • ไอเดียของขวัญ
    • ไอเดียทำเล็บ
    • สิ่งประดิษฐ์ / งาน DIY
    • ไอเดียการตั้งชื่อ
    • กิน/เที่ยว
    • ความรัก
  • ทำตารางเบอร์เงิน
  • รูปสวัสดีตามวัน
    • สวัสดีวันจันทร์
    • สวัสดีวันอังคาร
    • สวัสดีวันพุธ
    • สวัสดีวันพฤหัส
    • สวัสดีวันศุกร์
    • สวัสดีวันเสาร์
    • สวัสดีวันอาทิตย์
No Result
View All Result
Kawtung - เปิดโลกดูดวง เลขมงคล แคปชั่นและอวยพรปังๆ ซีรี่ย์เกาหลีจีน ทรงผมเก๋ๆ
No Result
View All Result

หน้าแรก » สาระน่ารู้ » เล่าตั้งแต่ต้นเรื่องกับประวัติคณะราษฎร

เล่าตั้งแต่ต้นเรื่องกับประวัติคณะราษฎร

20 มกราคม 2023 11:17 น.
in สาระน่ารู้
0
SHARES
14
VIEWS
แชร์ไปที่ Facebookแชร์ไปที่ Twitterแชร์ไปที่ LinePin เลย

สารบัญบทความ

Toggle
  • ก่อนเกิดเหตุการณ์วันที่ 24 เดือนมิถุนายน ปีพุทธศักราช 2475
  • กว่าจะมาเป็นประวัติคณะราษฎร
  • 1 ในบุคคลสำคัญที่อยู่ในประวัติคณะราษฎร
  • เมื่อ “คณะราษฎร” กลับมาประเทศไทย
  • ประวัติคณะราษฎรกับวันปฏิบัติการปฏิวัติ
  • หลังพระยาพหลหยุเสนาอ่านประกาศคณะราษฎร
  • งานสำคัญซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของประวัติคณะราษฎร

การเปลี่ยนแปลงการปกครองปีพุทธศักราช 2475 อีกหนึ่งหน้าประวัติศาสตร์ไทยที่มีความสำคัญและเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันกับการเกิดเป็น ประวัติคณะราษฎร ให้คนรุ่นใหม่ได้ศึกษากันมาถึงปัจจุบัน วันนี้เราจึงจะมาย้อนศึกษาเกี่ยวกับเส้นทางเรื่องราวประวัติศาสตร์เรื่องนี้ไปพร้อมกันรับรองว่าได้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้อย่างจัดเต็มแน่นอน และเหตุการณ์ในอดีตอาจเป็นบทเรียน หรือบทสะท้อนให้กับอนาคตหรือกับคนรุ่นหลังต่อไป โดยรายละเอียดตั้งแต่ต้นจนจบที่ทุกคนจะได้ตามอ่านนั้นมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

คณะราษฎร
คณะราษฎร

ย้อนกลับไปในวันที่ 24 เดือนมิถุนายนเคยเป็นวันชาติไทย เพราะตรงกับวันที่เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตย ซึ่งถือว่าเป็นวันสำคัญที่ทำให้ระบบการปกครองได้เปลี่ยนผ่านมาจนถึงยุคปัจจุบันนี้ โดยมีรายละเอียดไทม์ไลน์ก่อนจะมาเป็น ประวัติของคณะราษฎร ดังนี้

ก่อนเกิดเหตุการณ์วันที่ 24 เดือนมิถุนายน ปีพุทธศักราช 2475

ในอดีตบรรยากาศในการปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชในไทยที่ถูกใช้มาอย่างเนิ่นนานถูกกระทบจากระบบเศรษฐกิจโลกในช่วงทศวรรษที่ 1920 พบหนังสือตำราเก่าหลายเล่มบันทึกโดยเล่าถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างหนึ่ง เริ่มต้นจากการที่ประเทศไทยของเราเริ่มก้าวเข้าสู่การมีระบบราชการ คนที่เคยอยู่ในสถานะไพร่จึงได้ไต่เต้าขึ้นมาเป็นชนชั้นกลาง เกิดการศึกษาหาความรู้มากขึ้น จึงมองเห็นโอกาสที่ชีวิตของตัวเองจะเกิดความเจริญก้าวหน้าได้ กอปรกับการได้ไปศึกษายังต่างประเทศจึงรูปแบบการปกครองอื่น

กว่าจะมาเป็นประวัติคณะราษฎร

ย้อนเวลากลับไปเคยมีเจ้านายและขุนนางชั้นผู้ใหญ่ได้ทำการถวายคำกราบบังคมทูลร้องขอ “คอนสติติวชั่นใหม่ตามทางชาวยุโรป”  ให้กับรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปีรัตนโกสินทรศก 103 โดยฝ่ายทหารเองก็เคยมีกบฏรัตนโกนสินทรศก 130 ที่มีความต้องการอยากเปลี่ยนแปลงการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้กลายมาเป็นการปกครองแบบประเทศญี่ปุ่นหรือฝรั่งเศส จึงเป็นกระแสเริ่มต้นสำหรับแนวคิดและความรู้สึกใหม่ที่ประเทศไทยหรือสยามในเวลานั้นไม่เคยมีมาก่อนและพึ่งเริ่มจะมีขึ้น

1 ในบุคคลสำคัญที่อยู่ในประวัติคณะราษฎร

“ปรีดี พนมยงค์” หนึ่งในบุคคลชนชั้นใหม่ ผู้เป็นนักเรียนทุนกระทรวงยุติธรรมที่มีแนวคิดใหม่ เขาถูกส่งไปศึกษากฎหมายที่ประเทศฝรั่งเศส ในวันธรรมดาวันหนึ่งปรีดีก็ได้สนทนากับเพื่อนของเขา “ร้อยโทประยูร ภมรมนตรี” ผู้เป็นนักเรียนนอก ปรีดีบอกว่าได้ยินเสียงจากหลายคนที่มีความต้องการอยากที่จะเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองสมบูรณาญาสิทธิราช แต่ยังไม่มีใครที่จะก้าวเข้ามาตัดสินใจเอาจริง พวกเขาจึงตกลงกันว่าจะไม่พูดแต่ปาก แต่จะต้องทำจริงจากน้อยไปมาก จึงเกิดการวางแพลนผ่านวิธีการชวนเพื่อนคนอื่นๆ เข้ามา

กระทั่งเกิดเป็นการชุมนุมของกลุ่มนักเรียนไทยในยุโรปในปีพุทธศักราช 2469 ณ บ้านเลขที่ 9 ถนน Rue de sommerard ปารีส โดยที่นั่นปรีดี พยมยงค์ได้รับกับร้อยแปลก ขีตตะสังคะ ซึ่งในช่วงเวลาต่อมากลายมาเป็นจอมพล ป. พิบูลสงคราม การประชุมครั้งนั้นเองที่ทำให้เกิดประวัติ “คณะราษฎร” และมีหลัก 6 ประการออกมา เรียกว่า “หลักหกประการของคณะราษฎร”

หลังจากนั้นมีการเชิญชวนหลายคนให้เข้าร่วม ชื่อที่เป็นที่รู้จัก อาทิ นายควง อภัยวงศ์ พระยาทรงสุรเดช ในช่วงเวลาต่อมาพระยาทรงสุรเดชเองก็ได้ก้าวขึ้นมามีบทบาทสำคัญเป็นตัวเชื่อมเพื่อทำหน้าที่ประสานกับกลุ่มทหารที่อยู่ในระบอบการปกครองเดิม

เมื่อ “คณะราษฎร” กลับมาประเทศไทย

คณะราษฎรเมื่อเดินทางกลับมายังประเทศไทยก็มีบทบาทหน้าที่ในการเข้ารับราชการตามสายงานต่างๆ โดยที่ยังมีการติดต่อประสายและแบ่งสายจัดตั้งเป็น 4 สาย ได้แก่

  1. สายพลเรือน
  2. สายทหารเรือ
  3. สายทหารบกชั้นยศน้อย
  4. สายนายทหารชั้นยศสูง

ทุกฝ่ายต่างก็แยกย้ายกันออกไปหาสมาชิกเข้ามากระทั่งมีจำนวน 115 คน โดยทั้งหมดเป็นกลุ่มคนอายุน้อยที่ล้วนแล้วแต่อายุต่ำกว่า 30 ปี ตลอดระยะเวลาที่มีการเตรียมการยาวนาน 7 ปีมีชั้นความลับอย่างแน่นหนา แม้แต่คนที่อยู่ต่างสายกันก็จะไม่เคยเห็นหน้ากัน ในการประชุมแต่ละคราวจะนัดหมายเพียงผู้เป็นแกนนำหรือบุคคลสำคัญ ซึ่งถือว่าเป็นการรวมตัวที่แอบซ่อนและปิดบังความลับได้มากที่สุด

กระทั่งช่วงเวลาที่เป็นฤกษ์งามยามดีก็มาถึง เมื่อที่ประชุมคณะราษฎรยกให้พระยาทรงสุรเดชเป็นผู้วางแผนการ แน่นอนว่ามีหลายแผนการถูกหยิบยกขึ้นมาเสนอ แต่มีแค่เพียงแผนการเดียวที่ถูกเลือก เนื่องจากเชื่อว่าแผนการที่เลือกจะทำให้เกิดการนองเลือดน้อยที่สุด ครั้งแรกตกลงเลือกวันที่ 19 เดือนมิถุนายน ปีพุทธศักราช 2475 เป็นวันปฏิวัติ แต่เนื่องจากสถานการณ์ไม่เอื้อ จะต้องคอบสืบข่าวเอาจากฝ่ายที่ถือครองอำนาจจึงขยับเลื่อนมาเรื่อยๆ จนถึงวันที่ 24 เดือนมิถุนายน ปีพุทธศักราช 2475

 

ประวัติคณะราษฎรกับวันปฏิบัติการปฏิวัติ

เช้ามืด เวลา 04.00 นาฬิกาของวันที่ 24 เดือนมิถุนายน สายโทรเลขและโทรศัพท์ถูกตัดเพื่อสกัดการติดต่อสื่อสารโดยคณะราษฎรฝ่ายพลเรือน นำโดยนายควง อภัยวงศ์ ในช่วงเวลานั้น “ทางรถไฟที่ตัดถนนประดิพัทธ์ปัจจุบัน” ในอดีตเป็นสถานที่ซึ่งได้ถูกใช้โดยเหล่าคณะราษฎรสายทหารสำหรับนัดหมายกันที่นี่ในช่วงเวลา 05.00 นาฬิกา จากบันทึกของ “พระประศาสน์พิยายุทธ” หนึ่งในบุคคลผู้ร่วมก่อสารเล่าว่า เขาออกจากบ้านตั้งแต่ช่วงเวลา 04.00 นาฬิกา ในเวลานั้นมีตำรวจสันติบาลมาคอยเฝ้าดูอยู่บริเวณหน้าบ้านเช่นเดียวกันกับแหนนำคนอื่น แต่ตำรวจก็ไม่ได้จับกุมตัว ตัวเขาจึงเดินทางไปรับ “พระยาพหลพลพยุหเสนา” ที่บ้านก่อนมายังที่หมาย เมื่อไปถึงจึงพบกับผู้ก่อสารฝ่ายทหารหลายคน โดยนนั้นมี “หลวงพิบูลสงคราม” อยู่ด้วย

เมื่อทุกคนพบกันพระยาสุรเดชก็นัดแนะให้ทำตามแผนที่เก็บเอาไว้เป็นความลับมาตลอดจนชั่วโมงสุดท้าย เสร็จแล้วจึงเริ่มออกปฏิบัติการ โดยการมุ่งหน้าตรงไปยังกรมทหารม้าที่ 1 เป็นสถานที่แรก ทั้งนี้ก็เพื่อให้ได้มาซึ่งรถรบและรถยนต์เกราะมาไว้ฝ่ายของตน พอไปถึงประตูก็สามารถเข้าไปภายในได้อย่างง่ายดาย เนื่องจากทหารส่วนนั้นเป็นศิษย์ของ “พระประศาสตร์พิทยายุทธ” คณะผู้ก่อการเรียกรวมทหารภายในกรม แจ้งบอกว่ามีกบฏกลางเมือง ให้นำทหารม้า รถรบ รถเกราะออกมาให้หมด

ในช่วงเวลาเดียวกันนี้อีกฝั่งได้แบ่งไปดำเนินการเข้าคุมตัวผู้บังคับกรมและงัดคลังกระสุน เพียงไม่นานรถเกราะและทหารม้าก็ออกมารวม โดยมุ่งหน้าไปยะงพระที่นั่งอนันตสมาคม นอกจากนี้ยังมีการเรียกทหารปืนใหญ่ ทหารช่าง ซึ่งอยู่ในละแวกเดียวกันเข้ามาร่วมด้วย

ในช่วงเวลาต่อมาพระยาสุรเดชเป็นผู้บันทึกเหตุการณ์ต่อจากนี้ไว้ โดยพิจารณาวิเคราะห์ว่า การยึดอำนาจในครั้งนั้นสำเร็จ ไม่ได้เป็นเพราะสาเหตุที่ทหารจำนวนมากเห็นด้วย แต่เป็นเพราะทหารไทยคุ้นชินกับการฟังคำสั่ง เมื่อมีบุคคลที่มีอำนาจสูงกว่าสั่งก็จะพากันเชื่อและทำตามในทันที

ไทม์ไลน์ต่อมาในช่วงเวลา 06.05 นาฬิกา เมื่อขบวนรถยนต์มาถึงหน้าลานพระบรมรูปทรงม้า เมื่อไปถึงพบว่ามีนักเรียนนายร้อย ทหารเรือ และทหารในกองพันทหารราบที่ 1 และที่ 2 รออยู่ก่อนแล้ว แน่นอนว่าทหารหลายคนที่มารวมตัวอยู่ ณ ที่แห่งนั้นในช่วงเวลาดังกล่าวไม่รู้ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เช่น

  • นักเรียนนายร้อยได้รับแจ้งเพียงว่าจะต้องมารอดูรถรบ
  • ทหารจากกองพันทหารราบที่ 1 และ 2 ได้รับแจ้งว่าจะถูกนำตัวมาฝึกหัดหน้าพระลาน
สมาคมคณะราษฎร
สโมสรราษฎร์สราญรมย์
สมาคมคณะราษฎร
สโมสรราษฎร์สราญรมย์

ในกลุ่มของเหล่าทหาร มีเพียงทหารเรือเท่านั้นที่เตรียมมอาวุธมาด้วยครบมือ ขณะที่ทหารมากกว่าครึ่งไม่ทราบถึงแผนปฏิวัติที่กำลังจะเกิดขึ้นและยังงุนงง ทาง “พระยาพหลพยุหเสนา” จึงอ่านประกาศคณะราษฎรฉบับที่ 1 โดยอ่านจากจุดทิศตะวันออกของลานพระบรมรูปทรงม้า สถานที่ซึ่งช่วงเวลาต่อมาได้มีการปักหมุดคณะราษฎรเป็นหมุดหมายว่า เคยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเกิดขึ้น ณ ที่แห่งนี้ โดยหมุดดังกล่าวได้หายไปในปีพุทธศักราช 2560

หลังพระยาพหลหยุเสนาอ่านประกาศคณะราษฎร

หลังอ่านประกาศเสร็จสิ้น ทางด้านกลุ่มของทหารก็ถูกต้อนเข้ารั้วประตูเหล็กในบริเวณที่นั่งอนันตสมาคม โดยเป็นการต้อนเข้าไปแบบคละหมู่กัน ทั้งนี้ก็เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้บังคับบัญชาสั่งการใดๆ ได้โดยง่าย งานยึดอำนาจทางการทหารจึงสำเร็จลงในเช้าของวันนั้น ( 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475)

ประวัติคณะราษฎร
ประวัติคณะราษฎร

 

งานสำคัญซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของประวัติคณะราษฎร

งานสำคัญในที่นี้คือการยึดสถานที่สำคัญและเชิญพระบรมวงศานุวงศ์มาเป็นตัวประกัน โดยมีเป้าหมายในขณะนั้นอยู่ที่ “กรมพระนครสวรรค์วรพินิต” ผู้เป็นขุนนางที่ทรงอิทธิพลในช่วงเวลานั้น มีบันทึกเล่าว่าตำรวจได้เข้าเฝ้าถวายรายชื่อผู้ที่อาจก่อการก่อนหน้านี้แล้ว แต่ทรงปฏิเสธที่จะลงชื่ออนุมัติจับกุม

วันก่อการคนที่ได้รับมอบให้เข้าคุมตัวกรมพระนครสวรรค์ฯ คือ “พระประศาสน์พิยายุทธ” ซึ่งได้นำขบวนของนักเรียนนายร้อยออกจากพระบรมรูปทรงม้าไปยังวังบางขุนพรหม ทูลเชิญกรมพระนครสวรรค์วรพินิต หลังจากนั้นมีการคุมตัวบุคคลสำคัญคนอื่นๆ อาทิ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ

ในช่วงเวลานั้นคณะราษฎรออกแถลงการณ์ด้วยว่าถ้ามีใครออกมาขัดขวางหรือต่อต้าน ตัวประกันเหล่านี้จะต้องถูกทำร้าย วันเดียวกันนั้นมีการทยอยยึดสถานที่ต่างๆ เช่น พระบรมมหาราชวัง

ส่วนนายปรีดี พนมยงค์ที่วันนั้นล่องเรืออยู่คลองบางลำพูข้างวัดบวรก็ได้แจกแถลงการณ์คณะราษฎรที่พึ่งจะพิมพ์ใหม่ กระทั่งเวลาสายมีแถลงการณ์อีกฉบับลงพระนาม “บริพัตร” ระบุว่า …ข้าพเจ้าขอให้ทหาร ข้าราชการ และราษฏรทั้งหลายจงช่วยกันรักษาความสงบ อย่าให้เสียเลือดเนื้อของคนไทยกันเองโดยไม่จำเป็นเลย… นั้นจึงเป็นจุดที่หลายฝ่ายมองว่าการก่อการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 โดยคณะราษฎรทำสำเร็จนั้นเอง

วันที่ 25 เดือนมิถุนายน “พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว” ทรงมีพระราชหัตถเลขาตอบคณะราษฎรว่า “…ข้าพเจ้าเห็นแก่ความเรียบร้อยของอาณาประชาราษฎร์ไม่อยากให้เสียเลือดเนื้อ กับทั้งเพื่อจัดการโดยละม่อมละไม ไม่ให้ขึ้นอยู่ว่าได้จลาจลเสียหายแก่บ้านเมืองและความจริงข้าพเจ้าก็ได้คิดอยู่แล้วที่จะเปลี่ยนแปลงตามทำนองนี้คือ มีพระเจ้าแผ่นดินตามพระธรรมนูญจึงยอมรับที่จะช่วยเป็นตัวเชิดเพื่อให้คุมโครงการตั้งรัฐบาล…”

หลังจากประทับรถไฟนิวัติถึงกรุงเทพฯ และรับถวายรัฐธรรมนูญฉบับแรกของสยาม ซึ่งคณะราษฎรร่างขึ้น ในวันที่ 27 มิถุนายน 2475 และทรงเขียนคำว่า “ชั่วคราว” ลงไปกำกับ เพื่อต่อรองให้เกิดรัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475 ซึ่งมีฝ่ายอำนาจเดิมร่วมร่างและต่อรองด้วย  ทั้งหมดจึงเป็นทั้งประวัติคณะราษฎรที่มาพร้อมเรื่องราวการเปลี่ยนแปลงการปกครองครั้งแรกของไทย ซึ่งถ้าทุกคนได้อ่านตั้งแต่ต้นจนจบก็จะได้ทราบประวัติโดยละเอียด รวมไปถึงเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่สามารถไล่ไทม์มิ่ง และได้รับบทสรุปของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

📚 อ้างอิง (Reference Sites)

📘 อ้างอิงเนื้อหา (External links)

  • https://www.youtube.com/watch?v=c2lNNGYu_aE

📕 อ้างอิงรูปภาพ

  • https://www.matichon.co.th/prachachuen/news_2768098
  • https://th.wikipedia.org/wiki/คณะราษฎร
  • https://www.khaosod.co.th/politics/hot-topics/news_2644032

เรียบเรียงและจัดทำโดย ข้าวตังดอทคอม

Tags: คณะราษฎรคณะราษฎรคือประวัติคณะราษฎรเรื่องราวคณะราษฎร
ShareTweetSharePin
ข้าวตังดอทคอม ไลฟ์สไตล์ของวัยรุ่นยุคใหม่

ข้าวตังดอทคอม ไลฟ์สไตล์ของวัยรุ่นยุคใหม่

Kawtung.com (ข้าวตังดอทคอม) เว็บไซต์ที่รวบรวมข่าวสาร เทรนด์แฟชั่นในปัจจุบันสำหรับทั้งผู้หญิง/ชาย มีทั้งเทรนด์ทรงผม ไอเดียทำเล็บ สาระน่ารู้ คำคมเด็ดๆ แคปชั่นน่ารัก รวมถึงรีวิวที่พัก ที่เที่ยว โรงแรมจากทุกจังหวัดในประเทศไทย และมีรีวิวสินค้าจาก Shopee / Lazada เหมาะสุดๆ สำหรับสายช็อปปิ้งออนไลน์ นอกจากนี้แล้วก็ยังเหมาะกับสายมู ดูดวง ทำนายฝัน ฤกษ์ดีในวันต่างๆ บทสวดมนต์ เลขเด็ด วัตถุมงคล เมตตามหานิยม และสำหรับวัยรุ่นที่ชื่นชอบหนัง ซีรี่ย์ ก็มีให้เลือกอ่านทั้งไทย จีน เกาหลี ใครที่ชื่นชอบเล่น Social บ่อยๆ ข้าวตังก็รวบรวมเรื่องราวสำหรับสายโพสต์มาไว้ให้แล้ว ติดตามกันได้เลยจ้า 😍

Next Post

ต้องลอง! ที่พักชวนธนปัญญารีสอร์ท (Chuan Thanapanya Resort) ราคาไม่เกิน 500 บาท

บทความอื่นๆ ที่ไม่ควรพลาด

ไอเดียตั้งชื่อลูกชาย-ลูกสาวเกิดวันอังคาร ความหมายดี ถูกใจพ่อแม่มือใหม่

ไอเดียตั้งชื่อ
6 ตุลาคม 2024
463

ตั้งชื่อลูกชายเกิดวันจันทร์เพราะ ๆ ความหมายดี พร้อมคำอ่าน

ไอเดียตั้งชื่อ
6 ตุลาคม 2024
2.9k

ไอเดียตั้งชื่อจริงอักษร ก ไก่ ตั้งชื่อลูกสาว ลูกชาย ความหมายดี

ไอเดียตั้งชื่อ
6 ตุลาคม 2024
150

ไอเดียตั้งชื่อลูกเกิดวันพฤหัสบดี ความหมายดี ชื่อมงคล

ไอเดียตั้งชื่อ
6 ตุลาคม 2024
553

ประโยคขอให้เป็นวันที่ดีภาษาอังกฤษ พร้อมแคปชั่นในวันดี ๆ

สาระน่ารู้
25 สิงหาคม 2024
505

70 คำศัพท์กีฬาภาษาอังกฤษ ครบจัดเต็มทุกหมวดหมู่กีฬาที่คุณอยากรู้

สาระน่ารู้
25 สิงหาคม 2024
232

ไอเดียตั้งชื่อลูกญี่ปุ่นผู้หญิง ชื่อน่ารักถูกใจ ไพเราะ ความหมายดี

ไอเดียตั้งชื่อ
25 สิงหาคม 2024
130

ไอเดียตั้งชื่อลูกแบบอินเตอร์ ชื่อเพราะ ความหมายดี ไม่มีตกเทรนด์

ไอเดียตั้งชื่อ
25 สิงหาคม 2024
177

แนะนำสูตรคิดเปอร์เซ็นต์ยังไง พร้อมตัวอย่างการใช้ในชีวิตประจำวัน

สาระน่ารู้
25 สิงหาคม 2024
116

200 ไอเดียตั้งชื่อนก ไพเราะถูกใจ เรียกเมื่อไหร่ก็ไม่อายนกข้างบ้าน

ไอเดียตั้งชื่อ
25 สิงหาคม 2024
424
Load More
Kawtung ขอแนะนำ!

รวมคำอวยพรวันเกิดแฟน ไอ้ต้าวความรักหวานซึ้ง กินใจ 2023

แคปชั่น
5 สิงหาคม 2023
159.5k

รวม 80 คำถามกวน ๆ พร้อมเฉลย เรียกเสียงฮาได้ชัวร์ กวนจนคนฟังอยากตี

สาระน่ารู้
10 พฤศจิกายน 2023
79.3k
สวัสดีวันจันทร์ สดใส ห่วงใย ด้วยรูปภาพสวัสดีและดอกไม้สวยๆ Happy Monday

จัดมาดิ๊! 100 แคปชั่นขี้เมา คำคมวงเหล้า ฮาๆกวนๆ

แคปชั่น
10 เมษายน 2022
41.1k
แคปชั่นกวนๆ 2022 น่ารักๆ

รวมแคปชั่นกวนๆ ทะลึ่ง แคปชั่นสายฮา เรียกยอดไลก์ เสียงหัวเราะ

แคปชั่น
1 พฤษภาคม 2025
94.3k
บทความอื่นๆ ที่น่าสนใจ

แจก 100 คำคมเสือสุดเด็ดโดนใจ พี่เสือหน้าโหดอยู่ในโหมดคิตตี้

แคปชั่น
25 สิงหาคม 2024
112

วาดรูปมือไหว้ รวม 66 วาดรูปมือไหว้ อัปเดตวาดรูปมือไหว้ [PDF]

รูปภาพระบายสี
6 กุมภาพันธ์ 2024
19

รูปรูปภาพระบายสีคริสต์มาส แจกฟรีรูปภาพระบายสีคริสต์มาส มีให้โหลดเยอะมาก [PDF]

รูปภาพระบายสี
22 ตุลาคม 2023
51

รวมวาดรูปรถกระบะง่ายๆ ไว้ที่นี่ โหลดฟรี วาดรูปรถกระบะง่ายๆ 53 รูป [PDF]

รูปภาพระบายสี
24 มกราคม 2024
38
แคปชั่นคำคม ไลก์เพียบ!

ฟรี 45 แคปชั่นหญิงตะวัน เซฟไว้ทวีต ได้แต่นั่งเฝ้าหน้าจอ เพราะรอเธอทักมา 😔

แคปชั่นหญิงตะวัน
31 ธันวาคม 2021
28

รวม 93 “แคปชั่นอ้อนแรง” จากไอจี ต้องรีบแชร์

แคปชั่น
16 พฤศจิกายน 2022
26

88 แคปชั่นความ แคปชั่นเศร้า ฮิตติดเทรนด์ ปี 2021-2022

แคปชั่นความ
11 กันยายน 2021
21

40 แคปชั่นโสด2021 สำหรับปี 2564 โดนๆ

แคปชั่นโสด2021
23 มกราคม 2022
48


Kawtung.com เว็บไซต์สำหรับวัยรุ่นที่ไม่ได้มีดีแค่แฟชั่น ไลฟ์สไตล์ แต่เป็นเว็บไซต์ที่มุ่งเน้นให้ผู้อ่านทุกเพศทุกวัย ได้รับความรู้ และประโยชน์จากบทความของข้าวตังมากที่สุด ไม่ว่าคุณจะเป็นสายเที่ยว ช็อป สาย Social เน้นสร้างคอนเท้นต์บน Tiktok สายอินฟลู โพสต์แคปชั่นปังๆ โดนๆทุกโพสต์ สายแต่งตัว แต่งหน้าทำผม สายแต่งบ้าน โมเดิร์น มินิมอลมูจิ สายแคปชั่นบน Twitter ผู้สร้างสรรค์คำคมได้ทุก Event ที่มี และรักในการแชร์แคปชั่นเป็นชีวิตจิตใจ สายดูหนัง เกาหลี จีน และไม่ว่าคุณจะเป็นสายไหน ข้าวตังพร้อมเป็นเว็บ Lifestyle ที่อยู่เคียงข้างคุณ 🥰

รีวิวหนัง / ซีรี่ส์

  • ซีรี่ส์เกาหลี
  • ซีรี่ส์จีน
  • ซีรี่ส์โรแมนติก
  • ซีรี่ส์ย้อนยุค

แคปชั่น คำคมน่ารัก

  • แคปชั่นน่ารัก
  • แคปชั่นอ่อย
  • แคปชั่นกวนๆ
  • แคปชั่นโสด
  • คำอวยพร

ดูดวง ทำนายฝัน

  • ทำนายฝัน
  • วัตถุมงคล
  • บทสวดมนต์
  • เสริมบารมี

แฟชั่น ไลฟ์สไตล์

  • เทรนด์แฟชั่น
  • ทรงผมชาย/หญิง
  • ไอเดียทำเล็บ
  • เกี่ยวกับข้าวตัง
  • ติดต่อเรา
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • นโยบายคุกกี้
  • ข้อกำหนดการใช้งาน
  • แผนผังเว็บไซต์

Copyright © 2021-2023 Kawtung.com

No Result
View All Result
  • หน้าแรก
  • เลขเด็ด ทำนายฝัน
    • ทำนายฝัน เลขเด็ดจากฝัน
    • เลขเด็ดงวดนี้
    • วัตถุมงคล
    • บทสวดมนต์
    • ฤกษ์มงคล
  • แคปชั่น
    • แคปชั่นใหม่ๆ
    • แคปชั่นโสด
    • แคปชั่นกวนๆ
    • แคปชั่นน่ารัก
    • แคปชั่นอ่อย
    • แคปชั่นเด็ด
    • แคปชั่นภาษาอังกฤษ
    • แคปชั่นทะเล
    • แคปชั่นเศร้า
    • แคปชั่นชีวิต
    • แคปชั่นโดนๆ
    • แคปชั่นเสี่ยว
    • แคปชั่นกวนตีน
    • แคปชั่นความรัก
    • แคปชั่นความรู้สึก
    • แคปชั่นอกหัก
  • คำอวยพร
    • อวยพรวันครบรอบ
    • อวยพรงานแต่งงาน
    • อวยพรวันแม่
    • อวยพรวันเกิด
  • โรงแรม
    • โรงแรม 5 ดาว
    • โรงแรม 4 ดาว
    • โรงแรม 3 ดาว
    • โรงแรม 2 ดาว
    • โรงแรม 1 ดาว
  • รีวิวหนัง/ซีรี่ส์/อนิเมะ
    • ซีรี่ส์เกาหลี
    • ซีรี่ส์จีน
    • ซีรี่ส์โรแมนติก
    • ซีรี่ส์ย้อนยุค
  • สุขภาพ
    • แคลอรี่
    • อาหาร
  • Lifestyle
    • สาระน่ารู้
    • ความงาม
    • ไอเดียทรงผม
    • บ้านและสวน
    • แต่งหน้า
    • ไอเดียของขวัญ
    • ไอเดียทำเล็บ
    • สิ่งประดิษฐ์ / งาน DIY
    • ไอเดียการตั้งชื่อ
    • กิน/เที่ยว
    • ความรัก
  • ทำตารางเบอร์เงิน
  • รูปสวัสดีตามวัน
    • สวัสดีวันจันทร์
    • สวัสดีวันอังคาร
    • สวัสดีวันพุธ
    • สวัสดีวันพฤหัส
    • สวัสดีวันศุกร์
    • สวัสดีวันเสาร์
    • สวัสดีวันอาทิตย์

Copyright © 2021-2023 Kawtung.com

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ โดยการจดจำการเข้าชมเว็บไซต์ คุณสามารถคลิกที่ “ยอมรับทั้งหมด” เพื่อยอมรับการใช้งานคุกกี้ทั้งหมด อย่างไรก็ตามคุณสามารถคลิก "ตั้งค่าคุกกี้" เพื่อตั้งค่าคุกกี้ด้วยตัวคุณเอง
ตั้งค่าคุกกี้ยอมรับทั้งหมด
Manage consent

Privacy Overview

This website uses cookies to improve your experience while you navigate through the website. Out of these, the cookies that are categorized as necessary are stored on your browser as they are essential for the working of basic functionalities of the website. We also use third-party cookies that help us analyze and understand how you use this website. These cookies will be stored in your browser only with your consent. You also have the option to opt-out of these cookies. But opting out of some of these cookies may affect your browsing experience.
Necessary
Always Enabled
Necessary cookies are absolutely essential for the website to function properly. These cookies ensure basic functionalities and security features of the website, anonymously.
CookieDurationDescription
cookielawinfo-checkbox-analytics11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Analytics".
cookielawinfo-checkbox-functional11 monthsThe cookie is set by GDPR cookie consent to record the user consent for the cookies in the category "Functional".
cookielawinfo-checkbox-necessary11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookies is used to store the user consent for the cookies in the category "Necessary".
cookielawinfo-checkbox-others11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Other.
cookielawinfo-checkbox-performance11 monthsThis cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Performance".
viewed_cookie_policy11 monthsThe cookie is set by the GDPR Cookie Consent plugin and is used to store whether or not user has consented to the use of cookies. It does not store any personal data.
Functional
Functional cookies help to perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collect feedbacks, and other third-party features.
Performance
Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.
Analytics
Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.
Advertisement
Advertisement cookies are used to provide visitors with relevant ads and marketing campaigns. These cookies track visitors across websites and collect information to provide customized ads.
Others
Other uncategorized cookies are those that are being analyzed and have not been classified into a category as yet.
SAVE & ACCEPT